วันพฤหัสบดีที่ 30 ตุลาคม พ.ศ. 2557

ครั้งที่ 11

บันทึกอนุทิน

วิชาการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย(EAED3207)
อาจารย์ผู้สอน จินตนา  สุขสำราญ
วัน/เดือน/ปี 30  ตุลาคม 2557
ครั้งที่ 11   กลุ่มเรียน 101


ความรู้ที่ได้รับ

     วันนี้ได้ทดลองกิจกรรมวิทยาศาสตร์ง่ายๆที่สามารถจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์ให้กับเด็กปฐมวัยเรียนรู้ในสิ่งของรอบตัว

กิจกรรมที่ 1  การจมการลอย
    

  หลักการและเหตุผล    การที่ดินน้ำมันลอยในน้ำได้นั้นเกิดจากการที่เราทำให้ดินน้ำมันเป็นมีลักษณะคล้ายเรือทำให้น้ำไม่สามารถเข้ามาข้างบนของดินน้ำมัน จึงทำให้สามารถลอยน้ำได้

กิจกรรมที่ 2 ดอกไม้บาน


   หลักการและเหตุผล  กระดาษมีรูที่อากาศสามารถเข้าไปแทนที่ได้จึงทำให้น้ำซึมเข้าสู่อากาศ และทำให้ดอกไม้ค่อยๆบานออก

กิจกรรมที่ 3 แรงดันน้ำ

  
หลักการและเหตุผล จากระดับการพุ่งของน้ำในระดับที่แตกต่างกัน เกิดจากอากาศเข้าไปแทนที่ทำให้น้ำเกิดแรงดันจึงทำให้ระดับการพุ่งของน้ำจึงมีระยะที่ไม่เท่ากัน

กิจกรรมที่ 4 การไหลของน้ำ


หลักการและเหตุผล  การไหลของน้ำจากที่สูงลงสู่ที่ต่ำ หากระดับน้ำสูงมากขึ้นก็จะทำให้น้ำไหลแรงมากขึ้น

กิจกรรมที่ 5 เทียนในแก้ว



หลักการและเหตุผล การที่เราจุดเทียนตั้งไว้บริเวณรอบๆมีอากาศ เมื่อเราครอบแก้วกับเทียนจะพบว่าเทียนจะค่อยๆดับไป

กิจกรรมที่ 6 ปากกาขยาย



หลักการและเหตุผล ปากกาขยายใหญ่เกิดจากการมองจากเลนส์ตาของเรา และน้ำมีส่วนทำให้เกิดการขยายภาพ

เทคนิคการสอน
- การใช้การทดลองง่าย ไม่ซับซ้อนในการสอน
- ทักษะการใช้คำถามปลายเปิดเพื่อกระตุ้นความคิดของเด็ก
- การตั้งสมมุติฐานในการทดลอง
- ฝึกการทดลองด้วยตนเอง

การประเมิน
     ประเมินตนเอง
        มีความพร้อมในการเรียน แต่งตัวเรียบร้อยถูกระเบียบ ตั้งใจฟังอาจารย์เป็นอย่างดี มีการแสดงความคิดเห็นร่วมกับอาจารย์
     ประเมินเพื่อน
       เพื่อนตั้งใจเรียนเป็นอย่างดี มีการเตรียมการนำเสนอของเล่นเป็นอย่างดี
     ประเมินอาจารย์
       อาจารย์มีการเตรียมการสอนเป็นอย่างดี แต่งกายสุภาพเรียบร้อย



วันเสาร์ที่ 25 ตุลาคม พ.ศ. 2557

ครั้งที่ 9

บันทึกอนุทิน

วิชาการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย(EAED3207)
อาจารย์ผู้สอน จินตนา  สุขสำราญ
วัน/เดือน/ปี  16 ตุลาคม 2557
ครั้งที่ 9   กลุ่มเรียน 101


ความรู้ที่ได้รับ
    กิจกรรมนำเสนอของเล่นวิทยาศาสตร์ในชั้นเรียน
         โดยหลักการประดิษฐ์เด็กปฐมวัยมีดังนี้
             - เด็กจะต้องได้รับประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์
             - เด็กสามารถทำเองได้ ขั้นตอนง่ายไม่ซับซ้อน
             - นำวัสดุเหลือใช้กลับมาทำให้เกิดประโยชน์
         ซึ่งดิฉันได้นำเสนอของเล่นวิทยาศาสตร์ คือ  หลอดหมุนได้



ผลการทดลองกับเด็ก น้องเอแคร์ อายุ 3 ขวบครึ่ง
    น้องอายุยังน้อยจึงไม่ค่อยเข้าใจในวิธีการเป่าน้องจะจับหลอดไว้เพราะกลัวหลอดจะหล่น แต่น้องมีความพยายามที่จะเป่าให้หมุนแล้วแต่ก็ไม่ได้เลจึงทำให้รู้ว่าของเล่นชิ้นนี้ต้องใช้สำหรับเด็กอายุ 4-5 ขวบขึ้นไป เพื่อที่เขาจะเข้าใจวิธีการเล่นได้อย่างถูกต้อง


หลักการทางวิทยาศาสตร์
     การทีหลอดหมุนได้นั้น เกิดจากแรงลมที่เป่าเข้าไป แล้ววิ่งไปพุ่งออกที่อีกปลายด้านหนึ่ง ทำให้เกิดการผลักทำให้หลอดเคลื่อนที่ไปทิศทางตรงข้ามกับการเคลื่อนที่ของลมเป็นไปตามกฏของแรง
" แรงกิริยาที่กระทำจะมีแรงปฏิกิริยามีขนาดเท่ากันกระทำต่อในทิศตรงข้ามเสมอ "

เทคนิคการสอน
    ทักษะการส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์  การสืบค้นข้อมูลด้วยตนเอง และการเชื่อมโยงความรู้จากของเล่นวิทยาศาสตร์สู่การเรียนการสอน

การประเมิน
     ประเมินตนเอง
        มีความพร้อมในการเรียน แต่งตัวเรียบร้อยถูกระเบียบ ตั้งใจฟังอาจารย์เป็นอย่างดี มีการแสดงความคิดเห็นร่วมกับอาจารย์
     ประเมินเพื่อน
       เพื่อนตั้งใจเรียนเป็นอย่างดี มีการเตรียมการนำเสนอของเล่นเป็นอย่างดี
     ประเมินอาจารย์
       อาจารย์มีการเตรียมการสอนเป็นอย่างดี แต่งกายสุภาพเรียบร้อย




วันเสาร์ที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2557

ครั้งที่ 10

บันทึกอนุทิน

วิชาการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย(EAED3207)
อาจารย์ผู้สอน จินตนา  สุขสำราญ
วัน/เดือน/ปี  18 ตุลาคม 2557
ครั้งที่ 10   กลุ่มเรียน 101

ความรู้ที่ได้รับ

    (เรียนชดเชย )  เนื่องจากยุดวันปิยมหาราช   ในวันที่ 23 ตุลาคม   วันนี้อาจารย์ได้สอนถึงวิธีการเขียนแผนการจัดประสบการณ์ของแต่ละหน่วย  โดยวิธีการเขียนแผนนั้น สิ่งที่ต้องคำนึงมีดังนี้
   - ต้องเขียนให้ตรงกับสิ่งที่จะสอน
   - การเขียนจะต้องคลอบคลุมกับการเรียนรู้ของเด็ก
   - เด็กจะต้องมีพัฒนาการและประสบการณ์ที่เหมาะสม
 หลังจากนั้นอาจารย์ได้ให้แต่ละกลุ่มช่วยกันระดมความคิดเพื่อหาขอแก้ไขในการเขียนแผนการจัดประสบการณ์ของตนเองให้ถูกต้องและเหมาะสม
       
Mind Map 
หน่วย ไก่ (ฉบับแก้ไข)

การนำไปประยุกต์ใช้

    สามารถนำหลักการเขียนแผนการจัดประสบการณ์ที่ถูกต้องไปใช้ในรายวิชาอื่นได้อย่างถูกต้อง

เทคนิคการสอน

  การใช้ทักษะคำถามปลายเปิด  ให้เด็กได้คิดสร้างสรรค์จิตนาการอย่างอิสระ  ฝึกการคิด การสังเกต การตั้งข้อสงสัยด้วยตนเอง มีการค้นหาคำตอบและแก้ไขปัญหา และการทำกิจกรรมให้ห้องเรียนสามารถสอดแทรกการมีปฏิสัมพันธ์กับเพื่อนให้กับเด็กได้อีกด้วย

การประเมิน
     ประเมินตนเอง
        มีความพร้อมในการเรียน แต่งตัวเรียบร้อยถูกระเบียบ ตั้งใจฟังอาจารย์เป็นอย่างดี มีการแสดงความคิดเห็นร่วมกับอาจารย์
     ประเมินเพื่อน
       เพื่อนตั้งใจเรียนเป็นอย่างดี มีการแสดงความคิดเห็นร่วมกันในชั้นเรียน
     ประเมินอาจารย์
       อาจารย์มีการเตรียมการสอนเป็นอย่างดี แต่งกายสุภาพเรียบร้อย

วันพฤหัสบดีที่ 9 ตุลาคม พ.ศ. 2557

ครั้งที่ 8

บันทึกอนุทิน

วิชาการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย(EAED3207)
อาจารย์ผู้สอน จินตนา  สุขสำราญ
วัน/เดือน/ปี  9 ตุลาคม 2557
ครั้งที่ 8   กลุ่มเรียน 101
    วันนี้ไม่มีการเรียนการสอน  เนื่องจากทางมหาวิทยาลัย กำหนดให้เป็นวันสอบกลางภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 จึงไม่มีการจัดการเรียนการสอน


วันอาทิตย์ที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2557

ครั้งที่ 7

บันทึกอนุทิน

วิชาการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย(EAED3207)
อาจารย์ผู้สอน จินตนา  สุขสำราญ
วัน/เดือน/ปี  2 ตุลาคม 2557
ครั้งที่ 7   กลุ่มเรียน 101


ความรู้ที่ได้รับ
     วันนี้อาจารย์ได้ให้ทำกิจกรรม ประดิษฐ์ของเล่นวิทยาศาสตร์จากของเหลือใช้  โดยมีอุปกรณ์ ดังนี้
       1.แกนกระดาษทิชชู่
       2.กระดาษ(Paper)
       3.ไหมพรม(Yam)
       4.กาว(Glue)
       5.กรรไกร(Scissors)
       6.ดินสอ(Pencil)
       7.ตาไก่เจาะกระดาษ



ขั้นตอนการทำ
 - ตัดแกนทิชชูให้เหลือครึ่งท่อน
 - เจาะรูแกนทั้ง2ข้าง ดังภาพ
 - วาดภาพลงบนกระดาษที่เป็นวงกลมที่เตรียมไว้ตามจินตนาการ
 - นำเชือกไหมพรมมาสอดเข้าไปให้รูทุกด้านในลักษณะที่สามารถของคล้องคอได้  แล้วมันปม
 - นำภาพที่วาดมาติดไว้กึ่งกลางระหว่างรูที่เจาะ เป็นอันเสร็จเรียบร้อย
    

การนำเสนอบทความ

การนำเสนอบทความ เรื่องที่ 1 สอนเด็กปฐมวัยเรียนวิทย์จาก “เป็ด” และ “ไก่”
การนำเสนอบทความ เรื่องที่ 2 จุดประกายเด็กคิดนอกกรอบ ....สนุกคิดกับของเล่นวิทย์
การนำเสนอบทความ เรื่องที่ 3 สอนลูกเรื่องปรากฏการณ์ธรรมชาติ (Natural Phenomena)
การนำเสนอบทความ เรื่องที่ 4 การส่งเสริมกระบวนการคิด
การนำเสนอบทความ เรื่องที่ 5 สอนลูกเรื่องอากาศ

สิ่งที่เรียนรู้เพิ่มเติมจากกิจกรรม

แรง(FORCE)หมายถึงสิ่งที่สามารถทำให้วัตถุที่อยู่นิ่งเคลื่อนที่หรือทำให้วัตถุที่กำลังเคลื่อนที่มีความเร็วเพิ่มขึ้นหรือช้าลง หรือเปลี่ยนทิศทางการเคลื่อนที่ของวัตถุได้
แรงตึงเชือก  แรงที่เกิดขึ้นจากการที่ทำให้เชือกตึง โดยดึงปลายเชือกทั้ง 2 ด้าน แรงตึงในตัวเชือกที่เกิดขึ้นจะต้องไม่เกินแรงสูงสุดที่เชือกจะรับได้ ค่าของแรงตึงเชือกจะแปรไปตามค่าของแรงที่มากระทำต่อเชือก


เทคนิคการสอน

  การใช้ทักษะคำถามปลายเปิด  ให้เด็กได้คิดสร้างสรรค์จิตนาการอย่างอิสระ  ฝึกการคิด การสังเกต การตั้งข้อสงสัยด้วยตนเอง มีการค้นหาคำตอบและแก้ไขปัญหา และการทำกิจกรรมให้ห้องเรียนสามารถสอดแทรกการมีปฏิสัมพันธ์กับเพื่อนให้กับเด็กได้อีกด้วย

การประเมิน
     ประเมินตนเอง
        มีความพร้อมในการเรียน แต่งตัวเรียบร้อยถูกระเบียบ ตั้งใจฟังอาจารย์เป็นอย่างดี มีการแสดงความคิดเห็นร่วมกับอาจารย์
     ประเมินเพื่อน
       เพื่อนตั้งใจเรียนเป็นอย่างดี มีการแสดงความคิดเห็นร่วมกันในชั้นเรียน
     ประเมินอาจารย์
       อาจารย์มีการเตรียมการสอนเป็นอย่างดี แต่งกายสุภาพเรียบร้อย


วันเสาร์ที่ 4 ตุลาคม พ.ศ. 2557

ครั้งที่ 6

บันทึกอนุทิน

วิชาการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย(EAED3207)
อาจารย์ผู้สอน จินตนา  สุขสำราญ
วัน/เดือน/ปี  25 กันยายน 2557
ครั้งที่ 6   กลุ่มเรียน 101


ความรู้ที่ได้รับ

กิจกรรม  กังหันกระดาษ

   อุปกรณ์ 
    1. กระดาษ(Paper)
    2. คลิปหนีบกระดาษ(Papercilp)
    3. กรรไกร(Scissors)

ซึ่งกิจกรรมนี้ได้การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ผ่านการเล่นดังนี้

   - เรียนรู้เรื่องแรงโน้มถ่วง
   - เรื่องแรงต้านทาน
   - การสังเกตการหมุนของกังหัน
   - การเล่นอย่างสร้างสรรค์

มาประยุกต์ใช้ในปัจจุบัน คือ เครื่องบิน ร่มชูชีพ เป็นต้น

การนำเสนอบทความ

การนำเสนอบทความ เรื่องที่ 1 แสงกับชีวิตประจำวัน
ข้อมูลเพิ่มเติม แสงกับชีวิตปะรจำวัน
การนำเสนอบทความ เรื่องที่ 2 เงามหัศจรรย์ของสมอง
ข้อมูลเพิ่มเติม เงามหัศจรรย์ของสมอง
การนำเสนอบทความ เรื่องที่ 3 สอนลูกเรื่องอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
ข้อมูลเพิ่มเติมสอนลูกเรื่องอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
การนำเสนอบทความ เรื่องที่ 4 วิทยาศาสตร์ระดับปฐมวัย
ข้อมูลเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ระดับปฐมวัย
การนำเสนอบทความ เรื่องที่ 5 การทดลองวิทยาศาสตร์
ข้อมูลเพิ่มเติมการทดลองวิทยาศาสตร์

หลังจากนั้น ได้ให้แต่กลุ่ม นำแผนผังความคิดของกลุ่มตนเองมาติด แล้วช่วยกันระดมความคิดเห็นที่เหมาะสม เพื่อนำไปแก้ไขต่อไป

กลุ่มดิฉัน เรื่อง ไก่ สรุป  Mind Map ได้ดังนี้



เทคนิคการสอน

  การใช้ทักษะคำถามปลายเปิด การยกตัวอย่างกิจกรรมให้สอดแทรกความรู้  ทักษะการใช้สื่อเทคโนโลยี

การประเมิน
     ประเมินตนเอง
        มีความพร้อมในการเรียน แต่งตัวเรียบร้อยถูกระเบียบ ตั้งใจฟังอาจารย์เป็นอย่างดี มีการแสดงความคิดเห็นร่วมกับอาจารย์
     ประเมินเพื่อน
       เพื่อนตั้งใจเรียนเป็นอย่างดี มีการแสดงความคิดเห็นร่วมกันในชั้นเรียน
     ประเมินอาจารย์
       อาจารย์มีการเตรียมการสอนเป็นอย่างดี แต่งกายสุภาพเรียบร้อย