บันทึกอนุทิน
วิชาการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย(EAED3207)
อาจารย์ผู้สอน จินตนา สุขสำราญ
วัน/เดือน/ปี 2 ตุลาคม 2557
วัน/เดือน/ปี 2 ตุลาคม 2557
ครั้งที่ 7 กลุ่มเรียน 101
ความรู้ที่ได้รับ
การนำเสนอบทความ เรื่องที่ 1 สอนเด็กปฐมวัยเรียนวิทย์จาก “เป็ด” และ “ไก่”
การนำเสนอบทความ เรื่องที่ 2 จุดประกายเด็กคิดนอกกรอบ ....สนุกคิดกับของเล่นวิทย์
การนำเสนอบทความ เรื่องที่ 3 สอนลูกเรื่องปรากฏการณ์ธรรมชาติ (Natural Phenomena)
การนำเสนอบทความ เรื่องที่ 4 การส่งเสริมกระบวนการคิด
การนำเสนอบทความ เรื่องที่ 5 สอนลูกเรื่องอากาศ
สิ่งที่เรียนรู้เพิ่มเติมจากกิจกรรม
แรง(FORCE)หมายถึงสิ่งที่สามารถทำให้วัตถุที่อยู่นิ่งเคลื่อนที่หรือทำให้วัตถุที่กำลังเคลื่อนที่มีความเร็วเพิ่มขึ้นหรือช้าลง หรือเปลี่ยนทิศทางการเคลื่อนที่ของวัตถุได้
แรงตึงเชือก แรงที่เกิดขึ้นจากการที่ทำให้เชือกตึง โดยดึงปลายเชือกทั้ง 2 ด้าน แรงตึงในตัวเชือกที่เกิดขึ้นจะต้องไม่เกินแรงสูงสุดที่เชือกจะรับได้ ค่าของแรงตึงเชือกจะแปรไปตามค่าของแรงที่มากระทำต่อเชือก
ความรู้ที่ได้รับ
วันนี้อาจารย์ได้ให้ทำกิจกรรม ประดิษฐ์ของเล่นวิทยาศาสตร์จากของเหลือใช้ โดยมีอุปกรณ์ ดังนี้
1.แกนกระดาษทิชชู่
2.กระดาษ(Paper)
3.ไหมพรม(Yam)
4.กาว(Glue)
5.กรรไกร(Scissors)
6.ดินสอ(Pencil)
7.ตาไก่เจาะกระดาษ
ขั้นตอนการทำ
- ตัดแกนทิชชูให้เหลือครึ่งท่อน
- เจาะรูแกนทั้ง2ข้าง ดังภาพ
- วาดภาพลงบนกระดาษที่เป็นวงกลมที่เตรียมไว้ตามจินตนาการ
- นำเชือกไหมพรมมาสอดเข้าไปให้รูทุกด้านในลักษณะที่สามารถของคล้องคอได้ แล้วมันปม
- นำภาพที่วาดมาติดไว้กึ่งกลางระหว่างรูที่เจาะ เป็นอันเสร็จเรียบร้อย
การนำเสนอบทความ
การนำเสนอบทความ เรื่องที่ 2 จุดประกายเด็กคิดนอกกรอบ ....สนุกคิดกับของเล่นวิทย์
การนำเสนอบทความ เรื่องที่ 3 สอนลูกเรื่องปรากฏการณ์ธรรมชาติ (Natural Phenomena)
การนำเสนอบทความ เรื่องที่ 4 การส่งเสริมกระบวนการคิด
การนำเสนอบทความ เรื่องที่ 5 สอนลูกเรื่องอากาศ
สิ่งที่เรียนรู้เพิ่มเติมจากกิจกรรม
แรง(FORCE)หมายถึงสิ่งที่สามารถทำให้วัตถุที่อยู่นิ่งเคลื่อนที่หรือทำให้วัตถุที่กำลังเคลื่อนที่มีความเร็วเพิ่มขึ้นหรือช้าลง หรือเปลี่ยนทิศทางการเคลื่อนที่ของวัตถุได้
แรงตึงเชือก แรงที่เกิดขึ้นจากการที่ทำให้เชือกตึง โดยดึงปลายเชือกทั้ง 2 ด้าน แรงตึงในตัวเชือกที่เกิดขึ้นจะต้องไม่เกินแรงสูงสุดที่เชือกจะรับได้ ค่าของแรงตึงเชือกจะแปรไปตามค่าของแรงที่มากระทำต่อเชือก
เทคนิคการสอน
การใช้ทักษะคำถามปลายเปิด ให้เด็กได้คิดสร้างสรรค์จิตนาการอย่างอิสระ ฝึกการคิด การสังเกต การตั้งข้อสงสัยด้วยตนเอง มีการค้นหาคำตอบและแก้ไขปัญหา และการทำกิจกรรมให้ห้องเรียนสามารถสอดแทรกการมีปฏิสัมพันธ์กับเพื่อนให้กับเด็กได้อีกด้วย
การประเมิน
ประเมินตนเอง
มีความพร้อมในการเรียน แต่งตัวเรียบร้อยถูกระเบียบ ตั้งใจฟังอาจารย์เป็นอย่างดี มีการแสดงความคิดเห็นร่วมกับอาจารย์
ประเมินเพื่อน
เพื่อนตั้งใจเรียนเป็นอย่างดี มีการแสดงความคิดเห็นร่วมกันในชั้นเรียน
ประเมินอาจารย์
อาจารย์มีการเตรียมการสอนเป็นอย่างดี แต่งกายสุภาพเรียบร้อย
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น