บันทึกอนุทิน
วิชาการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย(EAED3207)
อาจารย์ผู้สอน จินตนา สุขสำราญ
วัน/เดือน/ปี 6 พฤศจิกายน 2557
วัน/เดือน/ปี 6 พฤศจิกายน 2557
ครั้งที่ 12 กลุ่มเรียน 101
ความรู้ที่ได้รับ
กลุ่มที่ 3 หน่วย กบ (การดำรงชีวิต)
คำแนะนำของอาจารย์ ควรปรับปรุงสื่อการสอนที่ความชัดเจนยิ่งขึ้น เพราะเด็กไม่สมารถแยกออกได้จากภาพที่เล็กเกินไป
กลุ่มที่ 7 หน่วย นม (ลักษณะ)
คำแนะนำของอาจารย์ ควรนำสื่อของจริงหลากหลายชนิดเพื่อให้เด็กสังเกตข้อแตกต่างของแต่ละชนิด
กลุ่มที่ 8 หน่วย น้ำ (การดูแล)
การสอนมีร้องเพลงอย่าทิ้ง จากนั้นครูเล่านิทานเกี่ยวกับการอนุรักษ์น้ำให้เด็กฟัง ครูควรใช้คำถามปลายเปิดเพื่อให้เด็กได้แสดงความคิดเห็นของตนเอง
กลุ่มที่ 9 หน่วย มะพร้าว (ประโยชน์และข้อพึงระวัง)
คำแนะนำของอาจารย์ เปลี่ยนจาการนำภาพให้เด็กได้ลงมือปฏิบัติจริงหรืใช้การเรียนรู้นอกสถานที่
กลุ่มที่ 10 หน่วย ผลไม้ (การประกอบอาหาร)
คำแนะนำของอาจารย์ การสอนให้เด็กมีส่วนร่วมดีแต่ครูควรแก้ปัญหาเมื่อยืนมุงกันทำให้คนอืนไม่เห็น
เทคนิคการสอน
การใช้คำถามปลายเปิดให้เด็กมีส่วยร่วมในการตอบคำถาม เพื่อกระตุ้นให้เด้กได้คิดแก้ไขปัญหา การเรียนรู้ด้วยตนเอง การแลกเปลี่ยนความคิดซึ่งกันและกัน
ความรู้ที่ได้รับ
วันนี้แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนออกมานำเสนอแผนการสอน กิจกรรมเสริมประสบการณ์ หน่วยต่างๆที่ได้รับมอบหมาย โดยมี
วันที่ 1 สอนเรื่องชนิด
วันที่ 2 สอนเรื่องลักษณะ
วันที่ 3 สอนเรื่องการดูแลหรือการดำรงชีวต
วันที่ 4 สอนเรื่องประโยชน์และข้อพึงระวัง
วันที่ 5 สอนเรื่องการประกอบอาหาร
กลุ่มที่ 1 หน่วย กล้วย (ชนิด)
คำแนะนำของอาจารย์ ควรนำสื่องของจริงมาใช้แทนรูปภาพเพื่อให้เด็กได้สังเกตเห็นได้ชัดเจนขึ้น
กลุ่มที่ 2 หน่วย ไก่ (ลักษณะ)
คำแนะนำของอาจารย์
การสอนส่วนประกอบของไก่ไม่ควรเขียนมาก่อน ควรเติมคำ พร้อมๆกับการสอน เพราะจะทำให้เด็กได้คิด ค้นหาคำตอบด้วยตนเอง และเรื่องดผนภูมิวงกลมควรเขียนในสิ่งที่เหมือนกันก่อนแล้วจึงเขียนในส่วนที่ต่างกัน
กลุ่มที่ 3 หน่วย กบ (การดำรงชีวิต)
คำแนะนำของอาจารย์ สื่อที่ใช้ในการสอนควรมีขนาดใหญ่ ควรพูดให้เสียงดังฟังชัด
คำแนะนำของอาจารย์ นิทานบางประโยคควรมีการเล่านที่แตกต่าง ไม่เล่าใช้คำซ้ำกัน
กลุ่มที่ 5 หน่วย ข้าว (การประกอบอาหาร)
คำแนะนำของอาจารย์ ควรเตรียมวัตถุดิบต่างๆมาให้พร้อม การหั่นส่วนประกอบต่างๆเตรียมไว้ก่อน เมื่อถึงเวลาสอนให้เด็กได้สังเกตจากของจริง และให้เด็กมีส่วนร่วมในการหยิบวัตถุดิบต่างๆทั้งหมด เพื่อให้เด็กรู้จักสังเกต คาดคะเนสิ่งที่จะใส่ลงไป
กลุ่มที่ 6 หน่วย ต้นไม้ (ชนิด)
กลุ่มที่ 5 หน่วย ข้าว (การประกอบอาหาร)
กลุ่มที่ 6 หน่วย ต้นไม้ (ชนิด)
กลุ่มที่ 7 หน่วย นม (ลักษณะ)
กลุ่มที่ 8 หน่วย น้ำ (การดูแล)
การสอนมีร้องเพลงอย่าทิ้ง จากนั้นครูเล่านิทานเกี่ยวกับการอนุรักษ์น้ำให้เด็กฟัง ครูควรใช้คำถามปลายเปิดเพื่อให้เด็กได้แสดงความคิดเห็นของตนเอง
กลุ่มที่ 9 หน่วย มะพร้าว (ประโยชน์และข้อพึงระวัง)
คำแนะนำของอาจารย์ เปลี่ยนจาการนำภาพให้เด็กได้ลงมือปฏิบัติจริงหรืใช้การเรียนรู้นอกสถานที่
กลุ่มที่ 10 หน่วย ผลไม้ (การประกอบอาหาร)
เทคนิคการสอน
การใช้คำถามปลายเปิดให้เด็กมีส่วยร่วมในการตอบคำถาม เพื่อกระตุ้นให้เด้กได้คิดแก้ไขปัญหา การเรียนรู้ด้วยตนเอง การแลกเปลี่ยนความคิดซึ่งกันและกัน
การประเมิน
ประเมินตนเอง
มีความพร้อมในการเรียน แต่งตัวเรียบร้อยถูกระเบียบ ตั้งใจฟังอาจารย์เป็นอย่างดี มีการแสดงความคิดเห็นร่วมกับอาจารย์
ประเมินเพื่อน
เพื่อนตั้งใจเรียนเป็นอย่างดี มีการเตรียมการนำเสนอแผนการสอนเป็นอย่างดี
ประเมินอาจารย์
อาจารย์มีการเตรียมการสอนเป็นอย่างดี แต่งกายสุภาพเรียบร้อย
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น